โรงทานมหาเศรษฐีผู้ใจบุญ ทันโลก ทันธรรม
การสนับสนุนสัปปายะ 4 แก่พระภิกษุสงฆ์จะช่วยให้พระภิกษุสงฆ์สามารถบำเพ็ญในช่วงเข้าพรรษาได้อย่างสะดวก และหนึ่งในนั้นคือการสร้างโรงทานนั่นเอง...
อานิสงส์ถวายสังฆาราม
การทำบุญวิหารทานเป็นสังฆาราม เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญ เพราะเป็นการอำนวยความสะดวกแด่พระสงฆ์ผู้ประพฤติธรรม
เส้นทางเลี่ยงรถติดช่วงสงกรานต์
กองบังคับการตำรวจทางหลวงประชาสัมพันธ์มายังผู้ใช้รถใช้ถนนที่จะเดิน ทางออกไปท่องเที่ยวและกลับภูมิลำเนาในจังหวดต่างๆช่วง เทศกาลสงกรานต์ หลีกเลี่ยงการจราจรที่ติดขัดหนาแน่นในเส้นทางหลักที่มุ่งหน้าสู่ภาคต่างๆหัน มาใช้เส้นทางหลีกเลี่ยงเพื่อความสะดวกรวดเร็วและถึงที่หมายได้ปลอดภัย
ปลาตายนับแสน ก่อนเกิดสึนามิ สัญญานเตือนจากสัตว์
แทบจะปฏิเสธไม่ได้เลยว่า มนุษย์จะสามารถสร้างเทคโนโลยีขึ้นมาใช้อำนวยความสะดวกและป้องกันตัวเองจากภัยรอบตัวมาแล้วมากมายเช่นไร
ธุดงค์ธรรมชัยรุ่นแสนรูป ตอนที่ 1
ธุดงค์ เป็นวัตรปฏิบัติที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตไว้ เป็นอุบายวิธีกำจัดขัดเกลากิเลส ทำให้เกิดความมักน้อยสันโดษยิ่งขึ้น ไม่สะสม เพื่อให้เบาสบาย ไปมาได้สะดวกด้วยไม่มีภาระมาก เหมือนนกที่มีเพียงปีกก็บินไปฉะนั้น
Japan's new hi-tech 'graveyards'
เพราะบุพการี มีพระคุณไม่มีประมาณ
เพราะบุพการี มีพระคุณจนไม่อาจประมาณได้ ลูกผู้ชายผู้มีหัวใจยอดกตัญญู จึงได้ละทิ้งความสะดวกสบาย มาตั้งใจฝึกฝนอบรมตนเองเพื่อการบรรพชาอุปสมบทภายใต้ร่มผ้ากาสาวพัสตร์
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 175
ฝ่ายอาจารย์เสนกะ พอเริ่มออกเดินเท่านั้น ก็รีบถอดผ้าโพกศีรษะออก ค่อยๆปลดผ้านุ่งออกแล้วบรรจงผูกใหม่ให้มั่นคง มโหสถเหลือบไปเห็นกิริยาของอาจารย์เสนกะ จึงเอ่ยถามว่า “ท่านเสนกะ ท่านมัวทำอะไรอยู่น่ะ” อาจารย์เสนกะ ก็หันมาตอบว่า “ข้าพเจ้าก็เตรียมจะเดินลงอุโมงค์น่ะสิ ถึงต้องเปลื้องผ้าโพกหัว แล้วยักรั้งให้มั่นคง จะเดินได้สะดวกๆอย่างไรล่ะ”
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 173
มโหสถทราบว่าอาจารย์เสนกะเริ่มจะอ่อนข้อลงแล้ว แต่ก็แสร้งสวนกลับเป็นเชิงข่มขวัญอาจารย์เสนกะว่า “ท่านอาจารย์เสนกะ สิ่งที่ล่วงไปแล้ว จะกลับมาแก้ไขเยียวยาอะไรได้อีก ถึงตอนนี้ข้าพเจ้าคงช่วยอะไรท่านไม่ได้หรอก ท่านสิ...เชิญเถิด เชิญนำเสด็จพระราชาเหาะกลับมิถิลานครตามสะดวกเถอะนะ”
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 160
ทันทีที่เหยียบเท้าก้าวแรก ลงบนดินแดนของฝ่ายศัตรู มโหสถก็ได้เริ่มต้นกำหนดแผนการไว้ในใจ คำนวณนับระยะทางที่ก้าวเดิน การก้าวเดินแต่ละก้าวในแดนศัตรู เป็นการวัดระยะทางเพื่อให้ทราบว่ามีระยะทางจากนี้ถึงนี้ใกล้ไกลเพียงใด ทางใดสะดวกปลอดภัย บริเวณใดควรสร้างอุโมงค์ บริเวณใดควรเป็นที่ตั้งของพระนคร และบริเวณใดควรเป็นที่ตั้งของพระราชนิเวศน์หลังใหม่