หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๖)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนได้นำเสนอผลงานวิจัยการค้นพบ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่ประเทศไทย ฉบับก่อนหน้านั้น ผู้เขียนมีความเชื่อมั่นว่า ท่านผู้อ่านที่ติดตามเรื่องราวมาตลอด และผู้ใคร่ต่อการศึกษา นักวิชาการเมื่อได้อ่านบทความและรับทราบถึงข้อมูลที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผลพร้อมหลักฐานที่นำเสนอแล้วนั้น
ทางกลับสู่ดุสิตบุรีวงบุญพิเศษ
บุคคลปรารถนาเป็นผู้มีอายุยืน ไม่มีโรค มีผิวพรรณผ่องใส มีสวรรค์เป็นที่ไป อยากเกิดในตระกูลสูง และมีความสุขยิ่งๆ ขึ้นไป พึงบำเพ็ญความไม่ประมาท บัณฑิตย่อมสรรเสริญความไม่ประมาทในบุญทุกอย่าง (อัปปมาทสูตร)
สองพระมหากษัตริย์....ร่มฉัตรปกแผ่นดิน
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร์รัชกาลที่ ๘ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติในระบอบประชาธิปไตย
อุทยชาดก ชาดกว่าด้วยบารมี 10 ทัศ
พระเจ้ากาสีทรงอภิเษกพระราชโอรสอุทัยภัทรและพระราชธิดาอุทัยภัทราซึ่งเป็นบุตรของตนทั้งสองพระองค์ พระราชโอรสและพระราชธิดาประทับอยู่ด้วยกันแต่ก็มิได้ทรงทำร้ายอินทรีย์ทอดพระเนตรกันด้วยความโลภ...ต่างก็ประพฤติพรหมจรรย์
วินีลกชาดก ชาดกว่าด้วยการเลือกทำเลผิด
สามเณรสานุ ผู้ถูกยักษิณีเข้าสิง
สานุสามเณร แม้จะยังเยาว์ก็สามารถแสดงธรรมเทศนาได้แกล้วกล้าและไพเราะเกินตัว เทศนาทุกครั้งจะมี เทวดา ยักษ์ และอมนุษย์มาฟังด้วยเสมอ ท่านจึงเป็นที่เคารพของอมนุษย์และเทวดาจำนวนมาก ได้มียักษิณี (คือยักษ์ผู้หญิง) ตนหนึ่งซึ่งเคยเป็นมารดาในอดีตชาติของสามเณรมาฟังธรรมเทศนาของสามเณรอยู่เป็นประจำ
พระมหากษัตริย์ไทยกับพระไตรปิฎก ตอน ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์สถาปนาขึ้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี รัชกาลที่ ๑ ทรงย้ายราชธานีจากฝั่งกรุงธนบุรีมาฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา และพระราชทานนามราชธานีแห่งใหม่ว่า “กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ฯ”
กณเวรชาดก ชาดกว่าด้วยหญิงหลายผัว
นางสามา เป็นหญิงคณิกา ผู้มีจิตปฏิพัทธ์ในมหาโจรรูปงาม นางจึงใช้อุบายหลอกล่อบุตรเศรษฐีผู้ซึ่งหลงรักตน ให้สับเปลี่ยนตัวและถูกรับโทษประหารแทนมหาโจร
อัคคิกชาดก ชาดกว่าด้วยท่านอัคคิกะ
สุนัขจิ้งจอกเจ้าเล่ห์ ได้ใช้กลอุบายทำทีว่าตนเป็นผู้มีศีล เข้าไปอาศัยอยู่ร่วมกับฝูงของพวกหนู เพื่อจะหลอกกินเป็นอาหาร แต่ในที่สุดพญาหนูโพธิสัตว์ก็ล่วงรู้ในแผนการของมัน และกำจัดมันได้ในที่สุด
สาลิเกทารชาดก ชาดกว่าด้วยนกแขกเต้าเลี้ยงพ่อแม่
พญานกแขกเต้าผู้มีความกตัญญูต่อบิดามารดาของตน และมีจิตเมตตา ต่อทุกสรรพชีวิตแม้แต่พราหมณ์โกสิยะเจ้าของไร่ข้าวสาลี ผู้ที่สั่งให้คนดูแลไร่ข้าวสาลี ไปจับตนมา ซึ่งต่อมาในภายหลัง พราหมณ์โกสิยะก็ได้ชื่นชมยกย่องคุณธรรมความโอบอ้อมอารี ความกตัญญู ของพญานกแขกเต้า