มหาโควินทสูตรตอนที่ ๔ (โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก คนดี หมายถึงผู้ที่มีใจสะอาด บริสุทธิ์ ปราศจากอกุศล มีศีล ๕ เป็นปกติ
พญาวานรโพธิสัตว์
การผูกมัดไว้ ไม่เผาลนข้าพระองค์ให้เดือดร้อน ผู้ฆ่าก็จักไม่ให้ข้าพระองค์เดือดร้อน เพราะข้าพระองค์ได้นำความสุขมาให้แก่เหล่าวานร ที่ให้ข้าพระองค์ครองความเป็นใหญ่
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 4 โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 120
การบำรุงขวัญชาวเมืองของมโหสถบัณฑิต สำเร็จผลอย่างงดงาม ความหวาดหวั่นครั่นคร้ามของชาวเมืองก็หมดไป ในไม่ช้าอุบายของมโหสถบัณฑิตก็เริ่มเห็นผล พระเจ้าจุลนีพรหมทัตเมื่อสดับเสียงประโคมดนตรีและอาการสรวลเสเฮฮาของชาวมิถิ ลา ที่ดูคล้ายกับว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้นเลย
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 119
ในการทำศึกสงครามนั้น มโหสถบัณฑิตตระหนักดีว่า สิ่งสำคัญในการสู้ศึก อยู่ที่ขวัญและกำลังใจ เพราะแม้นว่ากองทัพนั้นจะเป็นทัพใหญ่ที่มีกำลังพลมากกว่า แต่หากว่าลูกทัพปราศจากขวัญกำลังใจในการออกศึก กองทัพนั้นก็หมดท่าหมดสง่าราศี แทนที่จะเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะก็อาจปราชัยให้แก่ฝ่ายตรงข้ามได้ง่ายๆ
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 118
ฝ่ายอาจารย์ทั้ง ๔ คืออาจารย์เสนกะ อาจารย์ปุกกุสะ อาจารย์กามินทะ และอาจารย์เทวินทะ เมื่อได้ยินเสียงโห่ร้องกึกก้องโกหาหล ทั้งยังเห็นแสงเพลิงสว่างกลบไปทั้งเมือง โดยที่ไม่รู้ต้นสายปลายเหตุว่าเกิดอะไรขึ้น ก็พากันแปลกใจ จึงรีบตรงเข้าไปเฝ้าพระเจ้าวิเทหราช กราบทูลแด่ท้าวเธอว่า “ขอเดชะมหาราชเจ้า บัดนี้ภายนอกพระนครมีเสียงโห่ร้องกึกก้องโกลาหล
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 112
พระเจ้าจุลนีทรงสดับอุบายนั้นแล้ว ก็ทรงปีติยินดียิ่งนัก ถึงกับตรัสชมพราหมณ์เกวัฏผู้เป็นต้นคิดว่า “แผนการของท่านอาจารย์ช่างแยบยลอะไรเช่นนี้ ดีละท่านอาจารย์ ถ้าเช่นนั้น ท่านจงรีบเตรียมการเคลื่อนพลโดยเร็วเถิด”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 107
มโหสถบัณฑิตกราบทูลว่า “จะเปิดเผยก็ได้พระพุทธเจ้าข้า แต่ต้องเลือกบุคคลที่จะเปิดเผยให้ถ่องแท้ หากว่าุบุคคลนั้น เป็นสตรีผู้มีใจคอไม่หนักแน่น ๑ เป็นผู้ที่ไม่ใช่มิตร ๑ เป็นผู้ฝักใฝ่ในอามิส คือมีความโลภในทรัพย์ ๑ เป็นผู้ที่มิใช่มิตรแต่ทำทีว่าเป็นมิตรด้วยแฝงความต้องการบางอย่าง ๑ บุคคลเหล่านี้ บัณฑิตต้องเว้นเสียเด็ดขาด ไม่ควรจะวางใจเลย
มงคลที่ ๒๐ สำรวมจากการดื่มน้ำเมา - ชีวิตและชาติพินาศเพราะสุรา
สุรา ดื่มแล้วจะเมามายขาดสติเดินโซเซตกลงไปในบ่อ ในหลุมน้ำครำ หรือหลุมโสโครกก็ได้ จะกล้ากินของที่ไม่ควรกิน จะเที่ยวไปในที่ต่างๆ โดยไม่มีจุดหมาย จะทำตัวเหมือนคนอนาถา กล้าฟ้อนรำขับร้องโดยไม่อายใคร กล้าเปลือยกายเดินตามถนนหนทาง จะมีจิตลุ่มหลง นอนตื่นสาย แม้ไฟไหม้ก็ยังนอนอยู่ได้ จะนอนจมอยู่ในอาเจียนของตนก็ได้ จะนั่งคุยโวพร่ำเพ้อในที่ประชุมชน และมักจะทำสิ่งทุจริตต่างๆ จนถูกจองจำ ถูกฆ่า และเสื่อมจากโภคทรัพย์สมบัติทั้งหลาย
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 46
แม้ว่าท้าวเธอจะทรงฉงนพระทัยสักเพียงใด แต่ครั้นได้ทรงนึกถึงข้อพิสูจน์ที่มโหสถบัณฑิตค่อยๆเปิดเผยให้ปรากฏเป็นที่ ประจักษ์ก่อนหน้านี้ จึงไม่ทรงคัดค้านสิ่งใดอีก ในที่สุด จึงได้มีรับสั่งกับราชบุรุษผู้หนึ่งว่า “เจ้าจงขึ้นไปดูให้รู้แน่ ว่าบนต้นตาลนั้นมีแก้วมณีอยู่จริงหรือไม่ หากว่าพบแก้วมณีแล้ว ก็จงนำมาให้เราเถิด”